1 Introduction
2. The Surgical Tray
3. Suture Materials , Knot Tying , And Postoperative care
Surgical Knot Tying
ปกติจะผูก หรือ tied โดยใช้ instrument เพราะเร็วกว่าและเสียไหมน้อยกว่า
Hand typing มีแบบ one- or two-handed
ใน Transepidermal sutures - การดึงแรงเกินไป อาจทำให้เกิด strangulation , buried sutured
suture มักจะต้องตรงกับ dermis ,muscle ,fascia
จุดประสงค์ในการเย็บลึก - tightly , secured with stable knot
แต่ถ้าเป็น transepidermal -> จุดประสงค์เพื่อให้ wound-edge apposition , แรงตึงไม่ต้องเยอะมาก และป้องกันไม่ให้เกิด track mark formation
ชั้น dermis แน่นๆได้
แต่ถ้า transepidermal - อาจจะไม่ต้องแน่นมาก พอให้มี edema ได้บ้าง
Surgical knot ปกติจะทำแบบ - square knots และ 2 throws ไปคนละทิศทางกัน , เกิด locking knot
Granny knot คือ 2 throws อยู่ในทิศทางเดียวกัน <- วิธีนี้ จะทำให้ material สามารถ cinch down แน่นอน และแน่นมากขึ้น
และสำคัญจะต้อง throw อันต่อไปในทิศทางตรงกันข้ามกัน เมื่อ knot secure แล้ว จะได้ไม่ slip
แต่ละ throw จะได้ onehalf knot
เพื่อให้ได้ secure knot - ต้องอย่างน้อย 2 throw
แต่โดยปกติ ก็จะใช้ 3 throws สำหรับ braided
4 throws ถ้ากลัวหลุดมากๆ
Technique เย็บ instrument tie with Nonabsorabble sutures
video พันสองรอบ needle handle(หรือ needle drive)
ตอนผูก ต้องไปอีกด้านหนึ่ง (opposite direction) , ตรงนี้ มันจะไม่ slipละ
จากนั้นก็หมุนมาตรงกันข้างกับครั้งแรก <- ขั้นนี้ knot จะถูก lock ละ
Technique เย็บ instrument tie with buried sutures หลักการเหมือนด้านบน แต่เป็นการเย็บฝั่งไหมด้านใน
4. Suture techniques for Deeper structures : The Fascia and Dermis
Reference
OPDF - Suture Techniques