publishing China 2020
4. Clinical Treatment of COVID-19
4.1 Management of COVID-19 Patients in Fever Clinics
4.6 Antiviral Treatment
เพื่อลด viral replication , shorten viral clearance times
ลด incidence of severe / critical illnesses
ส่วน study efficacy against - COVID -19 ยังไม่มี
Arbidol 200 mg po q 8 hr
Favipiravir 1600mg q 12hr - first day
จากนั้น 600 mg q 12 hr
Lopinavir/ Ritonavir 400/100mg , po , q 12 hr
ถ้า Intolerant to ยาสองตัวนี้ , ให้ Darunavia/Cobicistat 800 mg/150 mg, qd แทน
study กลุ่มเล็กๆใน 70 ปีขึ้นไป ได้ผลดี
alpha-interferon 5 million UI ใน 2 ml Normal Saline for inhalation , bid
ถ้าข้างต้น initial dose ไม่ดีขึ้น ให้เริ่ม
Hydroxychloroquine sulfate 200Mg , po , q 12 hr
Chloroquine phosphate 18-65 yr
นน > 50 kg (500mg) q 12hr
<50 kg q 12 hr ใน 2 วันแรก , จากนั้น qd ไปอีก 3-7 วัน
Mild -> ให้แค่ single-agent Rx
แต่ถ้า severe -> combine such as Arbidol + Lopinavir / Hydroxychloroquine
Lopi และ Hydroxychloroquine - ระหว่าง QT interval prolongation
ไม่แนะนำ combine 3 ตัวขึ้นไป
ยาทั่วๆไป ให้ 10 วัน , ยกเว้น Chloroquine ไม่เกิน 7 วัน
หรือจนกว่า viral nucleic acid test -ve 3 ครั้งขึ้นไป
Plasma ในระหว่าง recovery stageให้กรณี -> respiratory viral test
non-severe/critical c rapid disease progression
Immunosuppression
4.7 Countering Hypoxemia
4.10 Clinical Pharmacy Services for Hospitalized Patients
4.10.2 Clinical Pharmacy Services for Covid-19 Dx and Rx
5. Treatment of Critical COVID-19 Patients
5.1 Treatment Principles for the Critical COVID-19 Patients Admitted to ICU
ให้เข้า ICU เมื่อมี failure จาก 3 อย่าง
ต้องการ Ventilator
Shock
Organ failure
5.1.1 Treament of Critical Patients
5.1.1.1 Principles
5.1.1.2 Respiratory Support
เริ่มจาก high-flow nasal cannula / noninvasive ventilator-based ventilation
ถ้าไม่ดีขึ้นหลัง 1-2 ชม , เพิ่มเป็น Tracheal intubation / invasive ventilation
Remove secretion
Lung-protective strategy - for invasive mechanical ventilation
ให้ lower tidal volume ~ body weigth 4-8ml/kg
lower inspiratory pressure (plateau pressure < 30cm H2O)
ให้แบบนี้ เพื่อลด ventilator-associated lung injury
high PEEP ใช้ใน plateau pressure < 35cmH2O
อาจจะเกิด Human-machine dyssynchrony - Rx sedation
Severe ARDS -Rx Lung recruitment
Pt ที่มี poor mechanical ventilation- Rx prone position

ECMO เมื่อ
FiO2 >90% , แต่ O2 index < 80 mmHg ในเวลา 3-4 ชม
airway plateau pressure > 35cmH2O
ถ้ามีปัญหาเฉพาะ respiratory- ใช้ VV-ECMO
แต่ถ้ามี circulation ด้วย ใช้ VA-ECMA
5.1.1.3 Circulatory Support
adequate fluid resuscitation , ต้องดูที่ microcirculation improve
vasoactive drug
5.1.1.4 Renal Failure and Renal Replacement Therapy
balance fluid , acid-base , electrolyte
5.1.1.5 Nutritional Support
5.1.1.6 Convalescent Plasma Therapy
5.1.1.7 Blood-Purifying Therapy
5.1.1.8 Immunotherapy
5.1.1.9 Other Therapeutic Measures
Favipiravir | รพ.พระปกเกล้า
หรือ Avigan , ใช้รักษา influenza virus
ใช้กับ RNA virus เช่น influ , yellow fever , foot and mouth
และในระบาด Ebola , COVID-19
เมื่อยาเข้าไปในร่างกาย จะถูกเปลี่ยนเป็น Favipiravirribosyl triphosphate
เพื่อยับยั้ง RNA replication ของ virus
ดูดซึมได้ดีใน 1 ชม , half-life 5 hr
วันแรก 1600mg bid
วันต่อมา 600 mg bid ต่อ 4 วัน
รวม 16+24 = 40 เม็ด
กินยาได้ทั้งก่อน และหลังอาหาร
หลีกเลี่ยงใน liver ,kidney disease
ไม่ใช้ใน pregnancy
gout ก็ไม่ควร จะทำให้ uric acid สูงขึ้น
มีรายงานหลังกิน Favipiravir - abnormal behavior
ยาผ่านตับ มี drug interaction หลายตัว
ค่า half max effective กับ half cytotoxic ห่างกันมาก (60 vs 400 ) ทำให้ใช้ปริมาณมากๆได้ ไม่มีผลเสียอะไรมากนัก
Study ของ CAI - รักษา covid 19 mild - moderate
เปรียบเทียบกับ Lopinavir/Ritonavia (LPV/RTV) , favipiravia ได้ผลดีในการกำจัดเชื้อได้ดีกว่า เร็วกว่า และ x-rayออกมาดีเร็วกว่า
Study of Chen ทดลองใน moderate - severe เปรียบเทียบกับ Arbidol
พบว่า Favi ได้ผลดี ไข้และไอ หายได้เร็วกว่า โดยเฉพาะในกลุ่ม moderate
แต่ถ้า case severe ไม่ต่างกัน , แต่ถ้าได้ favi ก็จะ dypnea น้อยกว่า
Study DOI ทำในญีปุ่น ให้ fava ทั้งสามกลุ่ม mild-mod-severe
แต่ให้ dose สูงกว่าเรา คือ 1800 ,800
พบ hyperuricemia และ liver แย่ลง
และถ้าได้เร็ว จะเป็นผลดีกว่า
Study ที่ทำในThai , พบว่า prognostic ที่ไม่ดี เช่น อายุเยอะ หรือ ได้ยา dose แรก ต่ำเกินไป , <45mg/kg/day

Reference
OPDF The Clinical Diagnosis and Treatment for New Coronavirus Pneumonia
Journal รพ. พระปกเกล้า